ฟันคุดคืออะไร

ฟันคุด แท้จริงแล้วคือฟันกรามซี่ที่สาม ซึ่งเป็นฟันกรามที่จะขึ้นเป็นลำดับสุดท้ายของการขึ้นของฟันทั้งหมด โดยจะขึ้นในช่วงอายุประมาณ 18-20 ปี แต่ส่วนใหญ่แล้ว ฟันซี่นี้มักจะไม่สามารถขึ้นมาได้ตามปกติ เลยทำให้เรียกฟันซี่นี้ว่าฟันคุดนั่นเอง ทั้งนี้ถึงแม้ในช่องปากของผู้ป่วยบางรายอาจจะมีพื้นที่เพียงพอที่จะให้ฟันกรามซี่ที่สาม สามารถขึ้นมาได้บ้างหรือขึ้นมาได้ทั้งหมด แต่ถ้าหากทันตแพทย์ทำการตรวจวินิจฉัยและเห็นถึงความเสี่ยงต่างๆ อันจะเกิดตามมาในภายหลัง เช่น การดูแลทำความสะอาดได้ยาก, เกิดการติดเชื้อและอักเสบหรือเป็นอุปสรรคต่อการบดเคี้ยว เป็นต้น ภายหลังการตรวจวิเคราะห์โดยละเอียดแล้ว ทันตแพทย์อาจแนะนำให้ถอนฟันซี่นี้ออก เพื่อป้องกันการลุกลามของสาเหตุดังที่กล่าวมาได้

เริ่มต้นการรักษาผ่าฟันคุด

ขั้นตอนการรักษา ผ่าฟันคุด

  • พบทันตแพทย์เพื่อตรวจวินิจฉัย โดยอาจมีการถ่าย X-Ray ร่วมด้วยเพื่อประกอบการวินิจฉัยถึงสภาวะของอาการและรอยโรค
  • ทันตแพทย์จะขอซักประวัติด้านสุขภาพเพื่อบันทึกข้อมูล เช่น ประวัติโรคประจำตัว, การแพ้ยา, แพ้อาหารต่างๆ เป็นต้น (จำเป็นต้องแจกแจงความเป็นจริง เพื่อให้ทันตแพทย์ประเมินการรักษาได้อย่างถูกต้อง)
  • เตรียมการผ่าตัดในช่องปาก ซึ่งทันตแพทย์จะฉีดยาชาระงับความรู้สึกก่อนเริ่มทำการรักษา
  • ทันตแพทย์จะดำเนินการรักษา เมื่อเสร็จกระบวนการรักษาจะเย็บปิดปากแผลและทำความสะอาดในช่องปากเพื่อให้คนไข้รู้สึกสบายในช่องปากมากที่สุด
  • ทันตแพทย์จะให้คำแนะนำเกี่ยวกับการดูแลรักษาและยาที่ต้องใช้ภายหลังการผ่าตัด

คำถามที่พบบ่อย : ผ่าฟันคุด

Q : ฟันคุดไม่ผ่าออกได้หรือไม่

A: ฟันคุดเปรียบเสมือนระเบิดเวลาที่จะปวดขึ้นมาเมื่อไหร่ก็ได้ ดังนั้นจึงแนะนำให้ผ่าฟันคุดออกในช่วงที่ยังไม่มีอาการปวด ดีกว่าที่รอให้มาปวดแล้วค่อยมาผ่าออก ซึ่งการรักษาจะยุ่งยากมากขึ้น คนไข้มีความเจ็บปวดมากขึ้น

Q : หากฟันคุดเริ่มงอกออกจากเหงือก จะมีอาการอะไรบ้าง

A: อาการต่างๆ ที่เกิดจากการที่ฟันคุดเริ่มงอกออกจากเหงือก ได้แก่ อาการปวดบริเวณเหงือก เกิดการอักเสบติดเชื้อ อาการบวมที่หน้า

Q: กรณีแบบไหน ถึงจะต้องผ่าฟันคุด

A: กรณีที่ต้องผ่าฟันคุด มีดังนี้ ฟันคุดมีผลกระทบต่อการสบของฟัน, ฟันซี่นั้นไม่ได้ใช้ในการบดเคี้ยว เช่น ไม่มีคู่สบ, ฟันมีรอยผุใหญ่, ฟันคุดสามารถก่อให้เกิดปัญหาโรคเหงือก, ฟันคุดเป็นสาเหตุให้การบูรณะฟันซี่ข้างเคียงทำได้อย่างยาก

ฟันคุดคืออะไร

ฟันคุด แท้จริงแล้วคือฟันกรามซี่ที่สาม ซึ่งเป็นฟันกรามที่จะขึ้นเป็นลำดับสุดท้ายของการขึ้นของฟันทั้งหมด โดยจะขึ้นในช่วงอายุประมาณ 18-20 ปี แต่ส่วนใหญ่แล้ว ฟันซี่นี้มักจะไม่สามารถขึ้นมาได้ตามปกติ เลยทำให้เรียกฟันซี่นี้ว่าฟันคุดนั่นเอง ทั้งนี้ถึงแม้ในช่องปากของผู้ป่วยบางรายอาจจะมีพื้นที่เพียงพอที่จะให้ฟันกรามซี่ที่สาม สามารถขึ้นมาได้บ้างหรือขึ้นมาได้ทั้งหมด แต่ถ้าหากทันตแพทย์ทำการตรวจวินิจฉัยและเห็นถึงความเสี่ยงต่างๆ อันจะเกิดตามมาในภายหลัง เช่น การดูแลทำความสะอาดได้ยาก, เกิดการติดเชื้อและอักเสบหรือเป็นอุปสรรคต่อการบดเคี้ยว เป็นต้น ภายหลังการตรวจวิเคราะห์โดยละเอียดแล้ว ทันตแพทย์อาจแนะนำให้ถอนฟันซี่นี้ออก เพื่อป้องกันการลุกลามของสาเหตุดังที่กล่าวมาได้

เริ่มต้นการรักษาผ่าฟันคุด

ขั้นตอนการรักษา ผ่าฟันคุด

  • พบทันตแพทย์เพื่อตรวจวินิจฉัย โดยอาจมีการถ่าย X-Ray ร่วมด้วยเพื่อประกอบการวินิจฉัยถึงสภาวะของอาการและรอยโรค
  • ทันตแพทย์จะขอซักประวัติด้านสุขภาพเพื่อบันทึกข้อมูล เช่น ประวัติโรคประจำตัว, การแพ้ยา, แพ้อาหารต่างๆ เป็นต้น (จำเป็นต้องแจกแจงความเป็นจริง เพื่อให้ทันตแพทย์ประเมินการรักษาได้อย่างถูกต้อง)
  • เตรียมการผ่าตัดในช่องปาก ซึ่งทันตแพทย์จะฉีดยาชาระงับความรู้สึกก่อนเริ่มทำการรักษา
  • ทันตแพทย์จะดำเนินการรักษา เมื่อเสร็จกระบวนการรักษาจะเย็บปิดปากแผลและทำความสะอาดในช่องปากเพื่อให้คนไข้รู้สึกสบายในช่องปากมากที่สุด
  • ทันตแพทย์จะให้คำแนะนำเกี่ยวกับการดูแลรักษาและยาที่ต้องใช้ภายหลังการผ่าตัด

คำถามที่พบบ่อย : ผ่าฟันคุด

Q : ฟันคุดไม่ผ่าออกได้หรือไม่

A: ฟันคุดเปรียบเสมือนระเบิดเวลาที่จะปวดขึ้นมาเมื่อไหร่ก็ได้ ดังนั้นจึงแนะนำให้ผ่าฟันคุดออกในช่วงที่ยังไม่มีอาการปวด ดีกว่าที่รอให้มาปวดแล้วค่อยมาผ่าออก ซึ่งการรักษาจะยุ่งยากมากขึ้น คนไข้มีความเจ็บปวดมากขึ้น

Q : หากฟันคุดเริ่มงอกออกจากเหงือก จะมีอาการอะไรบ้าง

A: อาการต่างๆ ที่เกิดจากการที่ฟันคุดเริ่มงอกออกจากเหงือก ได้แก่ อาการปวดบริเวณเหงือก เกิดการอักเสบติดเชื้อ อาการบวมที่หน้า

Q: กรณีแบบไหน ถึงจะต้องผ่าฟันคุด

A: กรณีที่ต้องผ่าฟันคุด มีดังนี้ ฟันคุดมีผลกระทบต่อการสบของฟัน, ฟันซี่นั้นไม่ได้ใช้ในการบดเคี้ยว เช่น ไม่มีคู่สบ, ฟันมีรอยผุใหญ่, ฟันคุดสามารถก่อให้เกิดปัญหาโรคเหงือก, ฟันคุดเป็นสาเหตุให้การบูรณะฟันซี่ข้างเคียงทำได้อย่างยาก

ฟันคุดคืออะไร

ฟันคุด แท้จริงแล้วคือฟันกรามซี่ที่สาม ซึ่งเป็นฟันกรามที่จะขึ้นเป็นลำดับสุดท้ายของการขึ้นของฟันทั้งหมด โดยจะขึ้นในช่วงอายุประมาณ 18-20 ปี แต่ส่วนใหญ่แล้ว ฟันซี่นี้มักจะไม่สามารถขึ้นมาได้ตามปกติ เลยทำให้เรียกฟันซี่นี้ว่าฟันคุดนั่นเอง ทั้งนี้ถึงแม้ในช่องปากของผู้ป่วยบางรายอาจจะมีพื้นที่เพียงพอที่จะให้ฟันกรามซี่ที่สาม สามารถขึ้นมาได้บ้างหรือขึ้นมาได้ทั้งหมด แต่ถ้าหากทันตแพทย์ทำการตรวจวินิจฉัยและเห็นถึงความเสี่ยงต่างๆ อันจะเกิดตามมาในภายหลัง เช่น การดูแลทำความสะอาดได้ยาก, เกิดการติดเชื้อและอักเสบหรือเป็นอุปสรรคต่อการบดเคี้ยว เป็นต้น ภายหลังการตรวจวิเคราะห์โดยละเอียดแล้ว ทันตแพทย์อาจแนะนำให้ถอนฟันซี่นี้ออก เพื่อป้องกันการลุกลามของสาเหตุดังที่กล่าวมาได้

เริ่มต้นการรักษาผ่าฟันคุด

ขั้นตอนการรักษา ผ่าฟันคุด

  • พบทันตแพทย์เพื่อตรวจวินิจฉัย โดยอาจมีการถ่าย X-Ray ร่วมด้วยเพื่อประกอบการวินิจฉัยถึงสภาวะของอาการและรอยโรค
  • ทันตแพทย์จะขอซักประวัติด้านสุขภาพเพื่อบันทึกข้อมูล เช่น ประวัติโรคประจำตัว, การแพ้ยา, แพ้อาหารต่างๆ เป็นต้น (จำเป็นต้องแจกแจงความเป็นจริง เพื่อให้ทันตแพทย์ประเมินการรักษาได้อย่างถูกต้อง)
  • เตรียมการผ่าตัดในช่องปาก ซึ่งทันตแพทย์จะฉีดยาชาระงับความรู้สึกก่อนเริ่มทำการรักษา
  • ทันตแพทย์จะดำเนินการรักษา เมื่อเสร็จกระบวนการรักษาจะเย็บปิดปากแผลและทำความสะอาดในช่องปากเพื่อให้คนไข้รู้สึกสบายในช่องปากมากที่สุด
  • ทันตแพทย์จะให้คำแนะนำเกี่ยวกับการดูแลรักษาและยาที่ต้องใช้ภายหลังการผ่าตัด

คำถามที่พบบ่อย : ผ่าฟันคุด

Q : ฟันคุดไม่ผ่าออกได้หรือไม่

A: ฟันคุดเปรียบเสมือนระเบิดเวลาที่จะปวดขึ้นมาเมื่อไหร่ก็ได้ ดังนั้นจึงแนะนำให้ผ่าฟันคุดออกในช่วงที่ยังไม่มีอาการปวด ดีกว่าที่รอให้มาปวดแล้วค่อยมาผ่าออก ซึ่งการรักษาจะยุ่งยากมากขึ้น คนไข้มีความเจ็บปวดมากขึ้น

Q : หากฟันคุดเริ่มงอกออกจากเหงือก จะมีอาการอะไรบ้าง

A: อาการต่างๆ ที่เกิดจากการที่ฟันคุดเริ่มงอกออกจากเหงือก ได้แก่ อาการปวดบริเวณเหงือก เกิดการอักเสบติดเชื้อ อาการบวมที่หน้า

Q: กรณีแบบไหน ถึงจะต้องผ่าฟันคุด

A: กรณีที่ต้องผ่าฟันคุด มีดังนี้ ฟันคุดมีผลกระทบต่อการสบของฟัน, ฟันซี่นั้นไม่ได้ใช้ในการบดเคี้ยว เช่น ไม่มีคู่สบ, ฟันมีรอยผุใหญ่, ฟันคุดสามารถก่อให้เกิดปัญหาโรคเหงือก, ฟันคุดเป็นสาเหตุให้การบูรณะฟันซี่ข้างเคียงทำได้อย่างยาก

สำหรับผู้ที่สนใจการจัดฟัน และการทันตกรรมเพื่อความงามในราคาสมเหตุสมผล คลินิกทันตกรรม Denta-joy คือผู้เชี่ยวชาญด้านนี้โดยเฉพาะ เราพร้อมให้คำปรึกษาและรักษาโดยแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ สามารถสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่

Line Official: @dentajoy
โทร 095-491-8659